Click ที่ลิงค์ได้เลยค่ะ
please Click these link below
1. Japan's Specifications and Standards for Food Additives 8th Edition
2. Revision of List of Designated Food Additives etc (July 03, 2018 )
3. Addition of an agricultural chemical, Revision of MRLs of agricultural chemicals, and veterinary drugs in foods (Sept 21, 2018)
วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
วันจันทร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
Update Food Law_Thai : DOF _26.11.18
click ที่ลิงค์ได้เลยนะคะ
มาตรฐานสินค้าสิทธิพิเศษ (เริ่มใช้ 3-1-62)
มาตรฐานสินค้า lot by lot (เริ่มใช้ 3-1-62)
- แช่เย็น/แช่แข็ง/กระป๋อง
- พื้นเมือง
List Of Dof 327 รายการ ไม่มี Issue บอก
List Of EU 21/11/2018
List of Approved Packer and Packing House November 2018
List Of Primary Prosessor (Thai only)
รายชื่อสถานแปรรูปสตัว์น้้าเบื้ องตน้ ที่ไดร้ับการรับรองจากกรมประมง 15/11/61
ที่มา กตส. กรมประมง
มาตรฐานสินค้าสิทธิพิเศษ (เริ่มใช้ 3-1-62)
มาตรฐานสินค้า lot by lot (เริ่มใช้ 3-1-62)
- แช่เย็น/แช่แข็ง/กระป๋อง
- พื้นเมือง
List Of Dof 327 รายการ ไม่มี Issue บอก
List Of EU 21/11/2018
List of Approved Packer and Packing House November 2018
List Of Primary Prosessor (Thai only)
รายชื่อสถานแปรรูปสตัว์น้้าเบื้
ที่มา กตส. กรมประมง
วันจันทร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
USA Food News : เมกะเทรนด์อุตสาหกรรมอาหารของสหรัฐฯ ในปี 2562
นายวิคเตอร์ มาร์ติโน นักเขียน/นักวิเคราะห์ของสื่อ www.just-food.com ได้วิเคราะห์และคาดการณ์ เมกะเทรนด์อุตสาหกรรมอาหารของสหรัฐฯ ในปี 2562 ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญต่อผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารสหรัฐฯ ในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการวางกลยุทธ์การตลาด ซึ่งแนวโน้มในปี 2562 จะมีความแตกต่างจากปี 2561 ในเรื่องความโปร่งใส (Transparency) ความเรียบง่าย (Simplicity) สินค้ามีการเข้าถึงผู้บริโภค (Personalisation) ยกระดับสินค้าคุณภาพ (Premiumisation) มีความยั่งยืน (Sustainability) และออกแบบนวัตกรรมด้วยเทรนด์ฟิจิตัล (Phygital) และได้สรุปได้เป็น 6 แนวโน้มเป็น ดังนี้
1. Traceability and Blockchain : การตรวจสอบย้อนกลับแหล่งที่มาของสินค้าและการใช้โครงข่ายการทาธุรกรรมแบบดิจิตัลหรือบล็อกเชน (Blockchain) ที่ไม่ต้องใช้คนกลาง (ธนาคาร สถาบันการเงิน ฯลฯ) ผู้บริโภคมีแนวโน้มต้องการทราบแหล่งที่มาของสินค้ามากขึ้น เช่น ต้องการทราบแหล่งที่มาของมะเขือเทศที่ใช้ผลิตซ้อสของบริษัท Heinz Ketch ว่าปลูกในรัฐใด มาจากรัฐ California หรือ Florida หรือที่ใด และใครเป็นผู้ปลูก เกษตรกร หรือบริษัทการเกษตร เป็นต้น หรือต้องการทราบว่าวัตถุดิบของสินค้าผลิตภายในประเทศ หรือนาเข้าจากต่างประเทศ และมาจากประเทศใด เช่น จีน เม็กซิโก หรือ ยุโรป เป็นต้น นอกจากนี้การตรวจสอบย้อนกลับแหล่งที่มาของสินค้าถือเป็นกุญแจสาคัญของการทาธุรกิจด้วยความโปร่งใส
2. Omnichannel : การใช้กลยุทธ์การเข้าถึง/การเชื่อมโยงการสื่อสารกับลูกค้าหลากหลายช่องทางเข้าไว้ด้วยกันเพื่อให้ความสะดวกและความประทับใจกับลูกค้า ปี 2562 จะเป็นยุคอวสานของการจาหน่ายสินค้าผ่านช่องทางเดียวหรือ Single Chanel และนับแต่ปี 2562 เป็นต้นไป อุตสาหกรรมอาหารของสหรัฐฯ จะเป็นรูปแบบ Omni World มากขึ้น
3. Artificial Intelligence (AI) : AI จะเข้าไปมีส่วนต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในวงการอุตสาหกรรมอาหาร เช่น การใช้ AI แทนคนซึ่งจะมีความแม่นยากว่าในการวิเคราะห์รสชาติในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารตัวใหม่เมกะเทรนด์อุตสาหกรรมอาหารของสหรัฐฯ ปี 2562
4. The Millennial Mindset : ผู้ประกอบการจะพัฒนาสินค้าและเข้าถึงผู้บริโภคตามแนวคิดของกลุ่ม Millennial แต่จะครอบคลุมผู้บริโภคทุกวัยทุกกลุ่ม ตั้งแต่กลุ่ม Millennial, Gen Z และ Baby Boomers
5. The VC : นับตั้งแต่ปี 2561 นักลงทุน หรือ Venture Capitalist เข้ามามามีบทบาทต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของสหรัฐฯ ไม่ว่าจะเป็นบริษัทร่วมลงทุนจาก silicon valley tech ที่ร่วมลงทุนในธุรกิจอาหารด้วยเม็ดเงินหลายร้อยล้านดอลล่าร์ ทั้งทางด้าน financing start-up หรือการซื้อควบกิจการในปี 2561หรือการให้คาแนะนา ออกความคิดเห็นต่อความจาเป็นในการเปลี่ยนแปลงธุรกิจ หรือมุ่งการใช้เทคโนโลยี่ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซึ่งนายมาร์ติโนมองเห็นว่า ในปี 2562 กลุ่ม VC จะส่งผลกระทบในทางบวกต่อการพัฒนานวัตกรรม start-up ในวงการอุตสาหกรรมอาหาร
6. The "Trump" Card : ในปี 2562 แนวโน้มจะเป็นสงครามการค้าด้วยวิธีการเรียกเก็บภาษีศุลกากรสินค้าซึ่งมีผลกระทบต่อสินค้าอาหารและสินค้าเกษตรจากจีน เม็กซิโก อียู และตุรกี ทางผู้ส่งออกสหรัฐฯ ที่โดนผลกระทบได้แก่ สินค้า soybean, almond, lobster fisheries ซึ่งจีนเคยเป็นผู้นาเข้าหนึ่งในสองรายใหญ่ที่นาเข้าสินค้าดังกล่าวจากสหรัฐฯ แต่ได้ระงับการนาเข้าเนื่องจากภาษีสูง จีนจึงหันไปนาเข้าจากบราซิล และอาร์เยนติน่า ซึ่งจะเป็นผลให้เกษตรกรอเมริกัน หันไปปลูกข้าวโพดเป็นการทดแทน
ที่มา: www.just-food.com วันที่ 9 พฤศจิกายน 2561
1. Traceability and Blockchain : การตรวจสอบย้อนกลับแหล่งที่มาของสินค้าและการใช้โครงข่ายการทาธุรกรรมแบบดิจิตัลหรือบล็อกเชน (Blockchain) ที่ไม่ต้องใช้คนกลาง (ธนาคาร สถาบันการเงิน ฯลฯ) ผู้บริโภคมีแนวโน้มต้องการทราบแหล่งที่มาของสินค้ามากขึ้น เช่น ต้องการทราบแหล่งที่มาของมะเขือเทศที่ใช้ผลิตซ้อสของบริษัท Heinz Ketch ว่าปลูกในรัฐใด มาจากรัฐ California หรือ Florida หรือที่ใด และใครเป็นผู้ปลูก เกษตรกร หรือบริษัทการเกษตร เป็นต้น หรือต้องการทราบว่าวัตถุดิบของสินค้าผลิตภายในประเทศ หรือนาเข้าจากต่างประเทศ และมาจากประเทศใด เช่น จีน เม็กซิโก หรือ ยุโรป เป็นต้น นอกจากนี้การตรวจสอบย้อนกลับแหล่งที่มาของสินค้าถือเป็นกุญแจสาคัญของการทาธุรกิจด้วยความโปร่งใส
2. Omnichannel : การใช้กลยุทธ์การเข้าถึง/การเชื่อมโยงการสื่อสารกับลูกค้าหลากหลายช่องทางเข้าไว้ด้วยกันเพื่อให้ความสะดวกและความประทับใจกับลูกค้า ปี 2562 จะเป็นยุคอวสานของการจาหน่ายสินค้าผ่านช่องทางเดียวหรือ Single Chanel และนับแต่ปี 2562 เป็นต้นไป อุตสาหกรรมอาหารของสหรัฐฯ จะเป็นรูปแบบ Omni World มากขึ้น
3. Artificial Intelligence (AI) : AI จะเข้าไปมีส่วนต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในวงการอุตสาหกรรมอาหาร เช่น การใช้ AI แทนคนซึ่งจะมีความแม่นยากว่าในการวิเคราะห์รสชาติในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารตัวใหม่เมกะเทรนด์อุตสาหกรรมอาหารของสหรัฐฯ ปี 2562
4. The Millennial Mindset : ผู้ประกอบการจะพัฒนาสินค้าและเข้าถึงผู้บริโภคตามแนวคิดของกลุ่ม Millennial แต่จะครอบคลุมผู้บริโภคทุกวัยทุกกลุ่ม ตั้งแต่กลุ่ม Millennial, Gen Z และ Baby Boomers
5. The VC : นับตั้งแต่ปี 2561 นักลงทุน หรือ Venture Capitalist เข้ามามามีบทบาทต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของสหรัฐฯ ไม่ว่าจะเป็นบริษัทร่วมลงทุนจาก silicon valley tech ที่ร่วมลงทุนในธุรกิจอาหารด้วยเม็ดเงินหลายร้อยล้านดอลล่าร์ ทั้งทางด้าน financing start-up หรือการซื้อควบกิจการในปี 2561หรือการให้คาแนะนา ออกความคิดเห็นต่อความจาเป็นในการเปลี่ยนแปลงธุรกิจ หรือมุ่งการใช้เทคโนโลยี่ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซึ่งนายมาร์ติโนมองเห็นว่า ในปี 2562 กลุ่ม VC จะส่งผลกระทบในทางบวกต่อการพัฒนานวัตกรรม start-up ในวงการอุตสาหกรรมอาหาร
6. The "Trump" Card : ในปี 2562 แนวโน้มจะเป็นสงครามการค้าด้วยวิธีการเรียกเก็บภาษีศุลกากรสินค้าซึ่งมีผลกระทบต่อสินค้าอาหารและสินค้าเกษตรจากจีน เม็กซิโก อียู และตุรกี ทางผู้ส่งออกสหรัฐฯ ที่โดนผลกระทบได้แก่ สินค้า soybean, almond, lobster fisheries ซึ่งจีนเคยเป็นผู้นาเข้าหนึ่งในสองรายใหญ่ที่นาเข้าสินค้าดังกล่าวจากสหรัฐฯ แต่ได้ระงับการนาเข้าเนื่องจากภาษีสูง จีนจึงหันไปนาเข้าจากบราซิล และอาร์เยนติน่า ซึ่งจะเป็นผลให้เกษตรกรอเมริกัน หันไปปลูกข้าวโพดเป็นการทดแทน
ที่มา: www.just-food.com วันที่ 9 พฤศจิกายน 2561
ข่าวเด่นประจำสัปดาห์จากสหรัฐอเมริกา ฉบับที่ 46 ปี 2561 (สคต.ชิคาโก)
วันอาทิตย์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
Update Food Law_Thai : คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 392-394
คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 392 (พ.ศ.2561) เรื่อง ฉลากโภชนาการ (ฉบับที่ 3)
คลิกโหลดตรงนี้
คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 393 (พ.ศ. 2561) เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง (ฉบับที่ ๒)
คลิกโหลดตรงนี้
คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 394 (พ.ศ. 2561) เรื่อง อาหารที่ต๎องแสดงฉลากโภชนาการ และคำพลังงาน น้าตาล ไขมัน และโซเดียมแบบจีดีเอ
คลิกโหลดตรงนี้
คลิกโหลดตรงนี้
คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 393 (พ.ศ. 2561) เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง (ฉบับที่ ๒)
คลิกโหลดตรงนี้
คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 394 (พ.ศ. 2561) เรื่อง อาหารที่ต๎องแสดงฉลากโภชนาการ และคำพลังงาน น้าตาล ไขมัน และโซเดียมแบบจีดีเอ
คลิกโหลดตรงนี้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)