วันพุธที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
วันพุธที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2564
Food Laws : Thai _หลักเกณฑ์การโฆษณาอาหาร
1. ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
เรื่อง #หลักเกณฑ์การโฆษณาอาหาร พ.ศ. 2564 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2564
วันอาทิตย์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2564
Allergen List : แนวทางสารก่อภูมิแพ้ 34 ประเทศ(รวมกลุ่ม GSO/EU)update 10/6/21
ใช้เป็นแนวทาง เพราะกฎหมายแต่ละประเทศ update ได้เรื่อยๆ อย่าลืมหาต้นทางแต่ละประเทศไว้ด้วยนะคะ
วันพฤหัสบดีที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
Update Food Laws:TH_ การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ-7
6. การแสดงฉลากของอาหารจัดรวมในภาชนะ
6.1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การแสดงฉลากของอาหารจัดรวมในภาชนะ (ฉบับที่ - พ.ศ. 2553 (326))
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/E/142/1.PDF
คำชี้แจงกฎหมาย/ แนวปฏิบัติ
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การแสดงฉลากของอาหารจัดรวมในภาชนะ ลงวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ.2553
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/071Explain_Notification_326(2553).pdf
7. การแสดงฉลากอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 251) พ.ศ.2545 เรื่อง การแสดงฉลากอาหารที่ได้จากเทคนิคการดัดแปรพันธุกรรมหรือ พันธุวิศวกรรม
แนบท้ายประกาศ
- อาหารที่ได้จากเทคนิคการดัดแปรพันธุกรรมหรือพันธุวิศวกรรมที่ต้องมีการแสดงฉลากอาหาร
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00055008.PDF
วันพุธที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
Update Food Laws:TH_ การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ-6
4. การแสดงฉลากอาหารไม่มีกลูเตน
4.1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 384) พ.ศ.2560 เรื่อง การแสดงฉลากอาหารไม่มีกลูเตน
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P384.PDF
4.2 คำชี้แจงกฎหมาย/แนวปฏิบัติ
1) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 384) พ.ศ. 2559 เรื่อง การแสดงอาหารไม่มีกลูเตน
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/No.384.pdf
5. อาหารฉายรังสี
5.1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ – พ.ศ. 2553 (325)) เรื่อง อาหารฉายรังสี
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/E/121/31.PDF
5.2 (คำชี้แจงกฎหมาย/แนวปฏิบัติ)
1) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจง ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง อาหารฉายรังสี
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/068Explain_Notification_325(2553).pdf
2) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเรื่อง การตรวจประเมินวิธีการ เครื่องมือเครื่องใช้ในการฉายรังสีและการเก็บรักษาอาหารฉายรังสีตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง อาหารฉายรังสี
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/067No6_53(150_No325).pdf
วันอังคารที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
Update Food Laws:TH_ การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ-5
1. การแสดงฉลากอาหารในภาชนะบรรจุ
3. การแสดงข้อความ “พรีเมียม”
3.1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 365) พ.ศ.2556 เรื่อง การแสดงข้อความ “พรีเมียม” บนฉลากอาหาร
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P365.pdf
2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 366) พ.ศ.2556 เรื่อง การแสดงข้อความ “พรีเมียม” บนฉลากน้ำนมโคสด และน้ำนมโค ชนิดเต็มมันเนยที่ผ่านกรรมวิธีพาสเจอร์ไรส์
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P366.pdf
3.2 คำชี้แจงกฎหมาย/แนวปฏิบัติ
1) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 365) พ.ศ. 2556 เรื่อง การแสดงข้อความ “พรีเมียม” บนฉลากอาหาร
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/580327_365.pdf
2) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจง ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 366) พ.ศ.2556 เรื่อง การแสดงข้อความ “พรีเมียม” บนฉลากน้ำนมโคสด และน้ำนมโค ชนิดเต็มมันเนยที่ผ่านกรรมวิธีพาสเจอร์ไรส์
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/580420_366.pdf
วันจันทร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
Update Food Laws:TH_ การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ-4
1. การแสดงฉลากอาหารในภาชนะบรรจุ
1.1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่อง การแสดงฉลากอาหารในภาชนะบรรจุ
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P367.PDF
2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 383) พ.ศ.2560 เรื่อง การแสดงฉลากอาหารในภาชนะบรรจุ (ฉบับที่ 2)
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/097/24.PDF
3) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 401) พ.ศ.2562 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 เรื่อง การแสดงฉลากอาหารในภาชนะบรรจุ (ฉบับที่ 3)
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P401.PDF
4) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 410) พ.ศ.2562 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 เรื่อง การแสดงฉลากอาหารในภาชนะบรรจุ (ฉบับที่ 4)
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/257/T_0009.PDF
1.2 ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
1) ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาว่าด้วยการดำเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร พ.ศ.2562
https://www.fda.moph.go.th/sites/food/FileNews/1_No62.PDF
2) ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาว่าด้วยการดำเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร พ.ศ. 2562 (ฉบับที่ 2)
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/289/T_0023.PDF
3) ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาว่าด้วยการดำเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร พ.ศ. 2563 (ฉบับที่ 3)
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/033/T_0001.PDF
1.3 คำชี้แจงกฎหมาย/แนวปฏิบัติ
1) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/600727_367_383.pdf
2) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ (เพิ่มเติม)
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/1_No62_367_383.pdf
3) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจงประกาศกระสาธารณสุขว่าด้วย เรื่อง การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ (ฉบับที่ 3) และ (ฉบับที่ 4)
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/62_Label34.pdf
4) คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 343/2548 เรื่อง หลักเกณฑ์การแสดงรูปภาพส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์บนฉลากอาหาร
http://food.fda.moph.go.th/law/data/command_fda/434_2548.pdf
วันศุกร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
Update Food Laws:TH_ การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ-3
3. อาหารที่ต้องแสดงฉลากโภชนาการ และค่าพลังงาน น้ำตาล ไขมันและโซเดียมแบบจีดีเอ
3.1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 394 (พ.ศ.2561) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง อาหารที่ต้องแสดงฉลากโภชนาการ และค่าพลังงาน น้ำตาล ไขมัน และโซเดียมแบบจีดีเอ
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/264/T_0012.PDF
3.2 คำชี้แจงกฎหมาย/ แนวปฏิบัติ
1) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 394 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง อาหารที่ต้องแสดงฉลาก โภชนาการ และค่าพลังงาน น้ำตาล ไขมัน และโซเดียมแบบจีดีเอ
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/No.394.pdf
วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
Update Food Laws:TH_ การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ-2
2. การแสดงสัญลักษณ์โภชนาการบนฉลากอาหาร
2.1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 373) พ.ศ.2559 เรื่อง การแสดงสัญลักษณ์โภชนาการบนฉลากอาหาร
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P373.PDF
2.2 คำชี้แจงกฎหมาย/ แนวปฏิบัติ
1) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 373) พ.ศ. 2559 เรื่อง การแสดงสัญลักษณ์โภชนาการบนฉลากอาหาร
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/No.373_Notification_Nutrition_Symbol.pdf
2.3 หลักเกณฑ์การแสดงสัญลักษณ์และเกณฑ์สารอาหาร
1) ประกาศคณะอนุกรรมการพัฒนาและส่งเสริมการใช้สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่าย เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการแสดงสัญลักษณ์โภชนาการ "ทางเลือกสุขภาพ" บนฉลากอาหาร
https://bit.ly/3eENnHP
2) ประกาศคณะอนุกรรมการพัฒนาและส่งเสริมการใช้สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่าย เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการแสดงสัญลักษณ์โภชนาการ "ทางเลือกสุขภาพ" บนฉลากอาหาร – ฉบับเพิ่มเติม ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2562
https://bit.ly/3BnikKw
3) ประกาศคณะอนุกรรมการพัฒนาและส่งเสริมการใช้สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่าย เรื่อง เกณฑ์สารอาหารหรือคุณค่าทางโภชนาการที่ใช้ประกอบการพิจารณารับรองการแสดงสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” ในอาหารแต่ละกลุ่ม
https://bit.ly/3Bpgk4o
4) ประกาศคณะอนุกรรมการพัฒนาและส่งเสริมการใช้สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่าย เรื่อง เกณฑ์สารอาหารหรือคุณค่าทางโภชนาการที่ใช้ประกอบการพิจารณารับรองการแสดงสัญลักษณ์โภชนาการ"ทางเลือกสุขภาพ" ในอาหารแต่ละกลุ่ม (ฉบับที่ 2)
https://bit.ly/2UsoOa4
วันพุธที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
Update Food Laws:TH_ การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ-1
การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
1. ฉลากโภชนาการ
1.1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182) พ.ศ.2541 เรื่อง ฉลากโภชนาการ
บัญชีแนบท้าย
• บัญชีหมายเลข 1 : รูปแบบและเงื่อนไขของการแสดงกรอบข้อมูลโภชนาการ
• บัญชีหมายเลข 2 : วิธีการกำหนดปริมาณอาหารหนึ่งหน่วยบริโภคกับจำนวนหน่วยบริโภคต่อภาชนะบรรจุ
• บัญชีหมายเลข 3 : สารอาหารที่แนะนำให้บริโภคประจำวันสำหรับคนไทยอายุตั้งแต่หกปีขึ้นไป
• บัญชีหมายเลข 4 : หลักเกณฑ์ในการกล่าวอ้างทางโภชนาการบนฉลากอาหาร
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/D/047/23.PDF
2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 219) พ.ศ.2544 เรื่อง ฉลากโภชนาการ (ฉบับที่ 2)
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/E/070/3.PDF
3) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 392 (พ.ศ.2561) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ฉลากโภชนาการ (ฉบับที่ 3)
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/264/T_0009.PDF
1.2 ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
1) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง การแสดง ข้อความกล่าวอ้างหน้าที่ของสารอาหาร
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/146/T_0051.PDF
1.3 คำชี้แจงกฎหมาย/แนวปฏิบัติ
1) ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเรื่อง คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 392 (พ.ศ.2561) ออกความความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. เรื่อง ฉลากโภชนาการอาหาร (ฉบับที่ 3)
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/No.392.pdf
วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร ในปี 2564
#มอก. อาหาร สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
Update Food Laws : EU ออกเกณฑ์และเงื่อนไขเฉพาะในการตรวจสอบเอกสารและกลุ่มผู้ประกอบการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์
EU ออกเกณฑ์และเงื่อนไขเฉพาะในการตรวจสอบเอกสารและกลุ่มผู้ประกอบการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์
คณะกรรมาธิการยุโรปประกาศ Commission Delegated Regulation (EU) 2021/771 ว่าด้วย การเสริม Regulation (EC) No 2018/848 ด้านการกำหนดเกณฑ์และเงื่อนไขเฉพาะในการตรวจสอบเอกสารและกลุ่มผู้ประกอบการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ภายใต้การตรวจสอบอย่างเป็นทางการ ใน EU Official Journal L 165/25 โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. การตรวจสอบเอกสาร (มาตรา 1)
1) การตรวจสอบทางกายภาพ ณ จุดตรวจสอบ (physical on-the-spot inspection) ตาม Regulation (EU) 2018/848 มาตรา 38(3) ต้องครอบคลุมการตรวจสอบย้อนกลับและการตรวจสอบสมดุลมวล (mass balance check) ของกลุ่มผู้ประกอบการ โดยการตรวจสอบบัญชีเอกสาร
2) หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก หรือหน่วยงานควบคุมภาครัฐหรือเอกชน จะต้องดำเนินการตรวจสอบย้อนกลับและตรวจสอบสมดุลมวล ตามรูปแบบมาตรฐานที่ปรากฏในบันทึกลายลักษณ์อักษรตาม Regulation (EU) 2018/848 มาตรา 38(3)
3) สำหรับวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบย้อนกลับและการตรวจสอบมวลรวม การคัดเลือกสินค้า กลุ่มสินค้า และระยะเวลาภายใต้การตรวจสอบ ให้กระทำบนพื้นฐานความเสี่ยง
4) การตรวจสอบย้อนกลับจะต้องครอบคลุมองค์ประกอบอย่างน้อยดังนี้ (ซึ่งต้องมีเอกสาร การบันทึกสต็อกสินค้า และบันทึกทางการเงิน เพื่อประกอบการตรวจสอบ)
(ก) ชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิต (supplier) และหากแตกต่าง ของเจ้าของ หรือผู้จำหน่าย หรือผู้ส่งออกสินค้า
(ข) ชื่อและที่อยู่ของผู้รับสินค้า (consignee) และหากแตกต่าง ของผู้ซื้อหรือผู้นำเข้าสินค้า
(ค) ใบรับรอง (certificate) ของผู้ผลิต ตาม Regulation (EU) 2018/848 มาตรา 35(6)
(ง) ข้อมูลที่อ้างถึงในวรรคแรกของ Regulation (EU) 2018/848 ข้อ 2.1 ภาคผนวก III
(จ) การระบุล็อตสินค้าที่เหมาะสม
5) ในกรณีที่มีความจำเป็น การตรวจสอบมวลรวมต้องครอบคลุมองค์ประกอบอย่างน้อยดังนี้ (ซึ่งต้องมีเอกสาร การบันทึกสต็อกสินค้า และบันทึกทางการเงิน เพื่อประกอบการตรวจสอบ)
(ก) ลักษณะ (nature) และปริมาณของสินค้าที่ส่งไปยังหน่วย (unit)และ (ในกรณีที่จำเป็น) ของวัสดุที่ซื้อและการใช้วัสดุดังกล่าว และองค์ประกอบของสินค้าในกรณีที่จำเป็น
(ข) ลักษณะและปริมาณของสินค้าที่จัดเก็บ ณ สถานที่ประกอบการ
(ค) ลักษณะและปริมาณของสินค้าที่ออกจากหน่วย (unit) ของผู้ประกอบการหรือกลุ่มผู้ประกอบการไปยังสถานที่ของผู้รับสินค้า หรือสถานที่จัดเก็บ
(ง) กรณีที่ผู้ประกอบการที่ซื้อและจำหน่ายสินค้า โดยไม่มีการจัดการทางกายภาพกับสินค้า ลักษณะและปริมาณของสินค้าที่ถูกซื้อและจำหน่าย และผู้ผลิต หากแตกต่าง ผู้จำหน่ายหรือผู้ส่งออก และผู้ซื้อ และหากแตกต่าง ผู้รับสินค้า
(จ) ผลผลิตของสินค้าที่ได้รับ รวบรวม หรือเก็บเกี่ยวในปีที่ผ่านมา
(ฉ) ผลผลิตที่แท้จริงของสินค้าที่ได้รับ รวบรวม หรือเก็บเกี่ยวในปีปัจจุบัน
(ช) จำนวนและ/หรือน้ำหนักในกรณีของปศุสัตว์ จากการจัดการทั้งปีปัจจุบันและปีก่อนหน้า
(ซ) การสูญเสีย การเพิ่ม หรือการลดปริมาณของสินค้าในขั้นตอนการผลิต การเตรียมการ และการจัดจำหน่าย
(ฌ) สินค้าอินทรีย์หรือสินค้าที่อยู่ในช่วงปรับเปลี่ยนที่จำหน่ายในตลาดเป็นสินค้าปกติที่ไม่ใช่อินทรีย์ (non-organic)
2. การตรวจสอบอย่างเป็นทางการของกลุ่มผู้ประกอบการ (มาตรา 2)
1) เพื่อเป็นการรับรองและตรวจสอบการปฏิบัติตามของกลุ่มผู้ประกอบการ หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก หรือหน่วยงานควบคุมภาครัฐหรือเอกชน ต้องมอบหมายให้ผู้ตรวจที่มีอำนาจดำเนินการประเมินระบบการควบคุมภายใน (ICS)
2) เพื่อวัตถุประสงค์ในการประเมินการจัดตั้ง การทำงาน และการบำรุงรักษาระบบการควบคุมภายใน (ICS) ของกลุ่มผู้ประกอบการ หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก หรือหน่วยงานควบคุมภาครัฐหรือเอกชน ต้องกำหนดอย่างน้อยว่า
(ก) ขั้นตอนของ ICS ที่ได้ดำเนินการแล้วนั้น เป็นไปตามข้อกำหนดที่ระบุไว้ใน Regulation (EU) 2018/848
(ข) รายชื่อสมาชิกของกลุ่มผู้ประกอบการ ที่มีข้อมูลที่จำเป็นของสมาชิกแต่ละราย ซึ่งได้รับการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันและสอดคล้องกันอย่างต่อเนื่อง ภายใต้ขอบเขตของใบรับรอง
(ค) สมาชิกทั้งหมดของกลุ่มผู้ประกอบการปฏิบัติตามข้อกำหนดตาม Regulation (EU) 2018/848 มาตรา 36(1)(a), (b) และ (e) ตลอดจนการมีส่วนร่วมในกลุ่มผู้ประกอบการนั้น ๆ
(ง) จำนวน การฝึกอบรม และความสามารถของผู้ตรวจสอบ ICS ต้องมีสัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอ และผู้ตรวจสอบ ICS ต้องไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน
(จ) การตรวจสอบภายในของสมาชิกทุกคนในกลุ่มผู้ประกอบการ ตลอดจนกิจกรรมและหน่วยผลิตหรือสถานที่ประกอบการ รวมทั้งการจัดซื้อ และศูนย์รวบรวม ได้มีการดำเนินการตรวจสอบอย่างน้อยทุกปีและมีการบันทึกไว้เป็นเอกสาร
(ฉ) สมาชิกใหม่หรือหน่วยการผลิตใหม่ และกิจกรรมใหม่ของสมาชิกที่มีอยู่ รวมถึงศูนย์การจัดซื้อและศูนย์รวบรวมใหม่ จะได้รับการยอมรับต่อเมื่อได้รับการอนุญาตจากผู้จัดการ ICS บนพื้นฐานของรายงานการตรวจสอบภายในตามขั้นตอนของ ICS
(ช) ผู้จัดการ ICS ใช้มาตรการที่เหมาะสมในกรณีที่พบว่ามีการไม่ปฏิบัติตาม (รวมถึงการติดตาม)ตามขั้นตอนของ ICS
(ซ) การแจ้ง (notification) ของผู้จัดการ ICS ต่อหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก หรือหน่วยงานควบคุมภาครัฐหรือเอกชน มีความเหมาะสมและเพียงพอ
(ฌ) การตรวจสอบย้อนกลับภายในสำหรับสินค้าทั้งหมด และสมาชิกของกลุ่มผู้ประกอบการได้รับการรับรองโดยการประมาณปริมาณและโดยการตรวจสอบข้าม (cross-checking) ผลผลิตของสมาชิกแต่ละรายในกลุ่มผู้ประกอบการ
(ญ) สมาชิกของกลุ่มผู้ประกอบการได้รับการฝึกอบรมที่เพียงพอเกี่ยวกับขั้นตอน ICS และข้อกำหนดของ Regulation (EU) 2018/848
3) หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก หรือหน่วยงานควบคุมภาครัฐหรือเอกชน จะใช้การประเมินความเสี่ยงเพื่อคัดเลือกตัวอย่างของสมาชิกในกลุ่มผู้ประกอบการ เพื่อทำการตรวจสอบซ้ำ (re-inspection) ตาม Regulation (EU) 2018/848 มาตรา 38(4)(d) โดย (อย่างน้อย) จะต้องพิจารณาถึงปริมาณและมูลค่าของการผลิตและการประเมินความเป็นไปได้ของการที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดของRegulation (EU) 2018/848 การตรวจสอบซ้ำจะต้องดำเนินการทางกายภาพ ณ จุดที่ตรวจ (on the spot) โดยมีสมาชิกที่ได้รับการคัดเลือกอยู่ด้วย
4) หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก หรือหน่วยงานควบคุมภาครัฐหรือเอกชน ต้องจัดสรรเวลาที่เหมาะสมสำหรับการควบคุมกลุ่มผู้ประกอบการ ตามสัดส่วนของชนิด โครงสร้าง ขนาด สินค้า กิจกรรม และผลผลิตของการผลิตอินทรีย์ของกลุ่มผู้ประกอบการ
5) หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก หรือหน่วยงานควบคุมภาครัฐหรือเอกชน ต้องดำเนินการตรวจสอบพยาน เพื่อตรวจสอบความสามารถและความรู้ของผู้ตรวจ ICS
6) หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก หรือหน่วยงานควบคุมภาครัฐหรือเอกชน ต้องประเมินว่า มีความบกพร่องของ ICS หรือไม่ โดยพิจารณาจากจำนวนการไม่ปฏิบัติตาม ที่ไม่ถูกตรวจพบโดยผู้ตรวจสอบ ICS และผลการสอบสวนสาเหตุและลักษณะของการไม่ปฏิบัติตาม
3. ประกาศดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 เป็นต้นไป ทั้งนี้ รายละเอียดของกฎระเบียบดังกล่าวสามารถสืบค้นเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ ดังนี้
https://eur-lex.europa.eu/legal-content/EN/TXT/PDF/?uri=CELEX:32021R0771&from=EN
ที่มา thaieurope.net