version ภาษาอังกฤษที่
http://questin.org/intl-code/gso-2206-1-2011-prepared-meats-meat-treated-saline-solutions-and-heat-treated-draft-standard
ประเทศซาอุดิอาระเบีย
และ GCC
มาตรฐาน
เรื่อง ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็ม
GSO:2206-1/2011
Prepared Meats
Meat
Treated with Saline Solutions and Heat Treated
หน่วยงานกาหนดมาตรฐานแห่งกลุ่มประเทศความร่วมมืออ่าวอาหรับ
(GSO) เป็นหน่วยงานระดับภูมิภาค
อันประกอบไปด้วยหน่วยงานมาตรฐานของประเทศสมาชิก
หนึ่งในหน้าที่หลักของ GSO คือการประกาศ Gulf
Standards
และ Technical regulation ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการฯ
(Specialized Technical
Committees
(TCs)
จากที่ประชุม
The
Gulf Technical Committee for Food and Agricultural Standards Products
(TC
No.5) ได้มอบหมายให้หน่วยงานด้านมาตรฐานของราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย
ด าเนินการจัดเตรียมร่าง
มาตรฐานดังกล่าวโดยยึดมาตรฐานหรือข้อกาหนดที่นานาชาติให้การยอมรับ
1. ขอบข่าย
ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แปรรูป
จากเนื้อโค อูฐ กระบือ แกะ กระต่าย หรือนกประจ าถิ่น ทั้งที่ผ่านการถนอม
ด้วยวิธีการแช่เย็นหรือแช่แข็ง
เพื่อมาผ่านกรรมวิธีการถนอมอาหารด้วยสารละลายเกลือ ผ่านกระบวนการให้ความร้อน
และ/หรือผ่านการรมควัน
ก่อนบรรจุหีบห่อที่เหมาะสม จาเป็นต้องมีคุณภาพตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานฉบับนี้
2. ข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง
2.1 GSO
9 การแสดงฉลากสินค้าในบรรจุภัณฑ์
2.2 GSO
592 วิธีการสุ่มตัวอย่างเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์
2.3 GSO
1794 การปิดผนึกกระป๋องดีบุกเพื่อการผลิตอาหารบรรจุกระป๋อง
2.4 GSO
655 วิธีการตรวจประเมินทางจุลชีววิทยาสาหรับเนื้อสัตว์ปลา หอย
และผลิตภัณฑ์
2.5 GSO
20 วิธีการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนโลหะหนักในอาหาร
2.6 GSO
21 ข้อกาหนดด้านสุขลักษณะของสถานที่ผลิตอาหารและบุคลากร
2.7 GSO
22 วิธีการตรวจพิสูจน์การใช้สีในอาหาร
2.8 GSO
ISO 2918 วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไนเตรตในเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
2.9 GSO
993 ข้อกาหนดว่าด้วยการเชือดสัตว์ตามหลักศาสนาอิสลาม
2.10
GSO 795 วิธีการตรวจพิสูจน์สารกันหืนที่อนุญาตให้ใช้ได้ในผลิตภัณฑ์อาหาร
2.11
GSO 839 บรรจุภัณฑ์อาหารฉบับที่ 1 ข้อกาหนดทั่วไป
2.12
GSO 1863 บรรจุภัณฑ์อาหารฉบับที่2 ข้อกาหนดทั่วไป
2.13
GSO 1016 เกณฑ์ทางจุลินทรีย์ในอาหาร ฉบับที่1
GCC | มาตรฐานสินค้า :
ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็ม
2
www.thehalalfood.info
By
National Food Institute, Thailand
2015
2.14
GSO 988 ระดับกัมมันตภาพรังสีสูงสุดที่อนุญาตให้พบได้ในอาหาร
2.15
GSO 998 วิธีการตรวจพิสูจน์ระดับนิวไคลด์กัมมันตรังสี
1
ในอาหารฉบับที่1 : รังสีแกมม่า
2.16
GSO CAC/MRL 02 ปริมาณยาสัตว์ตกค้างสูงสุดที่อนุญาตให้พบได้ในอาหาร
2.17
GSO/CAC 193 มาตรฐานทั่วไปสาหรับสารปนเปื้อนและสารพิษในอาหาร
มาตรฐานอื่นๆ
ที่GSO ให้การยอมรับ และสามารถบังคับใช้ในกลุ่มประเทศสมาชิก GCC ได้
2.18 วิธีการตรวจพิสูจน์เนื้อสุกรในผลิตภัณฑ์อาหาร
2.19 วิธีการตรวจพิสูจน์ไขมันจากสุกรในผลิตภัณฑ์อาหาร
2.20 ปริมาณสารกาจัดศัตรูพืชตกค้างสูงสุดที่อนุญาตให้พบได้ในอาหาร
2.21 วิธีการวิเคราะห์ปริมาณสารกาจัดศัตรูพืชตกค้างในอาหาร
2.22 วิธีการวิเคราะห์ปริมาณยาสัตว์ตกค้างในอาหาร
3. คาจ ากัดความ
3.1 เนื้อเค็ม หมายถึง
ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตจากเนื้อสัตว์ที่ก าหนดไว้ และต้องเป็นเนื้อสัตว์ชนิดใด
ชนิดหนึ่งเพียงชนิดเดียวเท่านั้น
โดยตัดแต่งจากส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือหลายส่วนมาผสมกันโดย
ปราศจากส่วนที่ไม่สามารถบริโภคได้เช่น
กระดูก กระดูกอ่อน เครื่องใน น ามาผ่านกระบวนการ
ถนอมอาหารด้วยสารละลายเกลือ
ผ่านกระบวนการให้ความร้อน และ/หรือผ่านการรมควัน ก่อน
บรรจุหีบห่อที่เหมาะสม
3.2 สารละลายเกลือ (Saline Solution) หมายถึง
สารละลายที่เตรียมขึ้นจากการผสมน้าและ
เกลือบริโภคเข้าด้วยกันส
าหรับจุ่มหรือฉีดพ่นเนื้อสัตว์ มีส่วนผสม คือ น้า เกลือด่าง (alkaline
salt) เพื่อเพิ่มความสามารถในการอุ้มน้าของเนื้อสัตว์รวมกับวัตถุเจือปนอาหาร
เช่น สารกันเสีย
สารกันหืน
เครื่องเทศหรือสารปรุงแต่งกลิ่นรส
3.3 เนื้อเค็มไม่ผสม หมายถึง ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ถนอมด้วยสารละลายเกลือและความร้อน
(ข้อ 3.1)
โดยผลิตจากเนื้อสัตว์ส่วนใดส่วนหนึ่งเพียงส่วนเดียว
เช่น เนื้อส่วนอก ขา ตะโพก หรือท้อง ซึ่ง
จาเป็นต้องแสดงส่วนของเนื้อสัตว์บนฉลากสินค้าด้วย
3.4 เนื้อเค็มผสม หมายถึง
ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ถนอมด้วยสารละลายเกลือและความร้อน (ข้อ 3.1)
โดยผลิตจากเนื้อสัตว์หลายส่วนผสมกัน
เช่น เนื้อส่วนอก ขา ตะโพก หรือท้อง ซึ่งจ าเป็นต้อง
แสดงส่วนของเนื้อสัตว์บนฉลากสินค้าด้วย
3.5 เนื้อเค็มฝานเป็นชิ้น หมายถึง การน
าผลิตภัณฑ์เนื้อเค็มจากข้อ 3.3 หรือ 3.4 มาผ่านการฝาน
เป็นชิ้น
และบรรจุในบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมด้วยระบบสุญญากาศ
1
Radionuclides
: Gamma Spectrometry หมายถึง
สารที่มีโครงสร้างอยู่ในสภาวะไม่เสถียร จึงมีการสลายตัวปล่อยอนุภาค
และรังสีชนิดต่างๆ
ออกมา
ได้แก่อนุภาคอัลฟ่า อนุภาคเบต้า และ รังสีแกมม่า (ที่มา : เวชศาสตร์นิวเคลียร์ โดยภาควิชาฟิสิกส์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล)
GCC | มาตรฐานสินค้า :
ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็ม
3
www.thehalalfood.info
By
National Food Institute, Thailand
2015
4. ข้อกาหนด
ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็มตามมาตรฐานฉบับนี้จาเป็นต้องมีคุณลักษณะสอดคล้องตามข้อก
าหนดต่อไปนี้
4.1 เนื้อสัตว์ดังกล่าว ต้องมาจากการเชือดตามข้อก
าหนดการเชือดสัตว์ตามหลักศาสนาอิสลาม
ตามที่ระบุไว้ใน
GSO 993
(ข้อ 2.9)
4.2 วัตถุดิบและเครื่องปรุงรสทุกชนิด อาทิ เนื้อสัตว์ ส่วนผสมต่างๆ
วัตถุเจือปนอาหารส าหรับใช้ใน
การผลิตเนื้อเค็ม
ต้องมีคุณภาพสอดคล้องตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
4.3 กระบวนการผลิตในทุกขั้นตอน ต้องปฏิบัติตาม GSO 21 ข้อก
าหนดด้านสุขลักษณะของสถานที่
ผลิตอาหารและบุคลากร
(ข้อ 2.6)
4.4 ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็ม ต้องปราศจากเนื้อสุกร ไขมันสุกร ตลอดจนผลิตภัณฑ์ต่างๆ
ที่มีเนื้อหรือไขมัน
สุกรเป็นส่วนประกอบ
4.5 ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็ม ต้องผลิตมาจากเนื้อสัตว์อันได้แก่ เนื้อโค อูฐ กระบือ
แกะ กระต่าย หรือนก
ประจาถิ่น
เพียงชนิดใดชนิดหนึ่งเท่านั้น
4.6 ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็ม ต้องมีกลิ่นรส (flavor) ตรงตามคุณลักษณะของเนื้อสัตว์ที่น
ามาใช้ในการผลิต
หรือมีกลิ่นรมควันตามธรรมชาติในกรณีที่รมควันร่วมด้วย
4.7 ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็มต้องมีลักษณะเนื้อสัมผัสเรียบ เนียน เป็นเนื้อเดียวกัน
และสามารถฝานเป็นชิ้น
ได้
4.8 ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็มต้องมีในช่วงสีน้าตาลอ่อน (light brown) จนถึงสีน้าตาลเข้ม (dark brown)
จากการผ่านกระบวนการให้ความร้อนและ/หรือรมควันที่เหมาะสม
4.9 ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็มต้องไม่แต่งสีสังเคราะห์
4.10 ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็มต้องปราศจากสิ่งสกปรก สิ่งแปลกปลอม
และกลิ่นไม่พึงประสงค์ ผิวหน้าต้อง
แห้งปราศจากเมือกหรือสัญญาณของการเน่าเสียใดๆ
4.11 เนื้อสัตว์ที่ใช้ ต้องอยู่ภายใต้อุณหภูมิไม่เกิน 4 องศาเซลเซียส
ตลอดกระบวนการจนกว่าจะเข้าสู่
กระบวนการให้ความร้อนหรือรมควัน
อีกทั้งยังต้องดูแลให้ปลอดการปนเปื้อน การเน่าเสีย หรือ
ความเสียหายต่างๆ
4.12 ต้องให้ความร้อนแก่ผลิตภัณฑ์จนมั่นใจได้ว่าเหมาะสมต่อการบริโภคของมนุษย์
4.13 ปริมาณเนื้อสัตว์ของผลิตภัณฑ์ในแต่ละบรรจุภัณฑ์ต้องมีปริมาณไม่ต่ากว่าร้อยละ
80 โดยน้าหนัก
และมีปริมาณโปรตีนจากเนื้อสัตว์ไม่ต่ากว่าร้อยละ
16 โดยน้าหนัก (ไม่รวมไขมัน)
4.14 ปริมาณความชื้นในผลิตภัณฑ์ไม่เกิน 4 เท่าตัวของปริมาณโปรตีน
คลาดเคลื่อนได้ไม่เกินร้อยละ
10
4.15 ปริมาณสารปนเปื้อนและสารพิษในผลิตภัณฑ์ ต้องไม่เกินระดับที่ก าหนดไว้ใน GSO/CAC
193
(ข้อ 2.17)
4.16 ปริมาณจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์สุดท้าย ต้องไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนดไว้ใน GSO
1016 (ข้อ 2.16)
GCC | มาตรฐานสินค้า :
ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็ม
4
www.thehalalfood.info
By
National Food Institute, Thailand
2015
4.17 ปริมาณสารกาจัดศัตรูพืชตกค้างในผลิตภัณฑ์ต้องไม่เกินระดับที่ GSO ให้การยอมรับ (ข้อ 2.20)
4.18 ปริมาณยาสัตว์ตกค้างในผลิตภัณฑ์สุดท้าย ต้องไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนดไว้ใน GSO
CAC/MRL 02
4.19 ระดับกัมมันตภาพรังสีที่ตรวจพบในผลิตภัณฑ์ต้องไม่เกินระดับที่กาหนดไว้ใน GSO
988 (ข้อ 2.14)
4.20 วัตถุเจือปนอาหาร
4.20.1 สารกันเสีย
- ปริมาณไนไตรต์ในผลิตภัณฑ์สุดท้ายต้องไม่เกิน 125 ppm ในรูป Sodium Nitrite
4.20.2 สารกันหืน
- กรดแอสคอร์บิค และ/หรือกรดไอโซแอสคอร์บิค และเกลือของกรดดังกล่าว ทั้งใช้
เพียงชนิดเดียว
หรือผสมกันพบได้ไม่เกิน 500 ppm
วิเคราะห์ในรูปกรดแอสคอร์บิค
หรือ
- กรดอีริทอร์บิกและ/หรือกรดไอโซอีริทอร์บิก และเกลือของกรดดังกล่าว ทั้งใช้
เพียงชนิดเดียว
หรือผสมกันพบได้ไม่เกิน 500 ppm
วิเคราะห์ในรูปกรดอีริทอร์บิก
4.20.3 สารเพิ่มความสามารถในการอุ้มน้า
-
Sodium phosphate และ/หรือ Potassium phosphate ทั้งเชิงเดี่ยว เชิงคู่ หรือ
เชิงซ้อน
ทั้งใช้เพียงชนิดเดียวหรือผสมกันพบได้ไม่เกิน 3,000 ppm ในรูป P2O5
4.20.4 สารปรับสภาพเนื้อสัมผัส
- วุ้น (agar) หรือคาร์ราจีแนน (carrageenan) สามารถใช้ได้ในปริมาณที่เพียงพอ
ต่อการปรับปรุงคุณภาพเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑ์(GMP)
-
Sodium aliginate และ/หรือ Potassium aliginate พบได้ไม่เกิน 1.0 ppm
4.20.5 คาร์โบไฮเดรต
- สามารถใช้ซูโครส เด็กซ์โทรส แลคโตส มอลโตส กลูโคส และน้าผึ้ง
ทั้งใช้เพียงชนิด
เดียว
หรือผสมกันพบได้ไม่เกินร้อยละ 3.5
4.20.6 สารปรุงแต่งกลิ่นรส สามารถใช้ส่วนผสมเหล่านี้ได้ในปริมาณที่เพียงพอต่อการปรับปรุง
กลิ่นรสของผลิตภัณฑ์(GMP)
- เครื่องเทศ เครื่องปรุงรส
- สารให้กลิ่นรสตามธรรมชาติหรือเลียนธรรมชาติ
- ควันธรรมชาติในรูปของเหลว
GCC | มาตรฐานสินค้า :
ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็ม
5
www.thehalalfood.info
By
National Food Institute, Thailand
2015
4.20.7 สารปรับปรุงกลิ่นรส ทั้งใช้เพียงชนิดเดียวหรือผสมกันพบได้ไม่เกิน 5,000
ppm
-
Mono-sodium glutamate
-
Di-sodium guanylate
-
Di-sodium inosinate
4.21 ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็มนาเข้าจากประเทศนอกกลุ่ม GCC ต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดดังต่อไปนี้
4.21.1 กรณีน
าเข้าเนื้อสัตว์จากประเทศที่มีการระบาดโรคตามที่ระบุไว้ในกฎว่าด้วยการกักกัน
(Quarantine
Rule) ซึ่งก าหนดโดยประเทศสมาชิก GCC จ
าเป็นต้องได้รับการอนุญาตน าเข้า
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในส่วนของ GCC ก่อนการนาเข้าเนื้อสัตว์ดังกล่าว
4.21.2 ล๊อตสินค้าที่น าเข้า ต้องมีใบรับรองการเชือดสัตว์ตามหลักศาสนาอิสลาม
ที่ออกให้โดย
สถานกงสุลของประเทศสมาชิก
GCC หรือผู้แทน โดยในใบรับรองต้องระบุชนิดสัตว์ วันที่เชือด
ผลการตรวจพิสูจน์ว่าปลอดโรคติดต่อ
และมีความเหมาะสมสาหรับการบริโภค
4.21.3 ล๊อตสินค้าที่น าเข้า ต้องมีใบรับรองแหล่งก าเนิดสินค้า (Country
of Origin) ที่ออกให้
โดยสถานกงสุลของประเทศสมาชิก
GCC หรือผู้แทน
5. การสุ่มตัวอย่างเพื่อการประเมินคุณภาพ
ก
าหนดให้ด าเนินการสุ่มตัวอย่างตามวิธีที่ก าหนดไว้ใน GSO 592 ว่าด้วยเรื่องวิธีการสุ่มตัวอย่างเนื้อสัตว์
และผลิตภัณฑ์
(ข้อ 2.2)
6. วิธีการทดสอบ และตรวจวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์
ตัวแทนของผลิตภัณฑ์จากการสุ่มตัวอย่างตามวิธีที่ก
าหนดในข้อ 5 ต้องผ่านการทดสอบ และตรวจ
วิเคราะห์คุณภาพด้านต่างๆ
ดังนี้
6.1 วิธีการตรวจประเมิน
6.1.1 ตรวจประเมินทางจุลชีววิทยาส าหรับเนื้อสัตว์ ปลา หอย และผลิตภัณฑ์
ตามวิธีการ
ที่กาหนดไว้ใน
GSO 655
(ข้อ 2.4)
6.1.2 ตรวจวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักในผลิตภัณฑ์ตามวิธีการที่กาหนดไว้ใน GSO
20 (ข้อ 2.5)
6.1.3 ตรวจพิสูจน์สารให้สีตามวิธีการที่กาหนดไว้ใน GSO 22 (ข้อ 2.7)
6.1.4 ตรวจวิเคราะห์ปริมาณไนไตรต์ตามวิธีการที่กาหนดไว้ใน GSO ISO 2918 (ข้อ 2.8)
6.1.5 ตรวจพิสูจน์สารกันหืนตามวิธีการที่กาหนดไว้ใน GSO 795 (ข้อ 2.10)
6.1.6 ตรวจพิสูจน์เนื้อสุกรในผลิตภัณฑ์ (ข้อ 2.18)
6.1.7 ตรวจพิสูจน์ไขมันจากสุกรในผลิตภัณฑ์ (ข้อ 2.19)
6.1.8 ตรวจวิเคราะห์ปริมาณสารกาจัดศัตรูพืชตกค้างในผลิตภัณฑ์ (ข้อ 2.21)
GCC | มาตรฐานสินค้า :
ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็ม
6
www.thehalalfood.info
By
National Food Institute, Thailand
2015
6.1.9 ตรวจวิเคราะห์ปริมาณยาสัตว์ตกค้างในผลิตภัณฑ์ (ข้อ 2.22)
6.1.10 ตรวจพิสูจน์ระดับนิวไคลด์กัมมันตรังสีในผลิตภัณฑ์ตามวิธีการที่ก าหนดไว้ใน
GSO 998
(ข้อ 2.15)
6.2 ตัวแทนของผลิตภัณฑ์จากการสุ่มตัวอย่างตามวิธีที่ก าหนดในข้อ 5 ต้องผ่านการทดสอบ
ในรายการต่างๆ
ตามระบุไว้ในข้อ 6.1 เพื่อประเมินความสอดคล้องกับข้อก าหนดต่างๆ ตาม
มาตรฐานฉบับนี้
7. การบรรจุ ขนส่ง และเก็บรักษา
นอกเหนือจากข้อก
าหนดที่ระบุใน GSO 9 ว่าด้วยการแสดงฉลากสินค้าในบรรจุภัณฑ์ (ข้อ 2.1) และ
มาตรฐานของ
GSO ว่าด้วยเรื่องบรรจุภัณฑ์พลาสติกสาหรับการบรรจุอาหาร (ข้อ 2.13) ผลิตภัณฑ์ปลาเค็มต้องใช้
บรรจุภัณฑ์ตามข้อกาหนดดังนี้
7.1 การบรรจุ
7.1.1 บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ต้องสะอาด ถูกสุขลักษณะ ผลิตจากวัสดุที่เหมาะสม
ซึ่งไม่ก่อให้เกิดการ
ปนเปื้อนระหว่างการเก็บรักษา
การขนส่ง ตลอดจนการขนย้ายผลิตภัณฑ์
7.1.2 ในกรณีที่ผลิตภัณฑ์ถูกบรรจุปิดสนิทขณะร้อน ต้องรีบน
าผลิตภัณฑ์ที่บรรจุปิดสนิทแล้ว
ออกจากบริเวณการผลิตโดยเร็ว
และเก็บรักษาภายใต้สุขลักษณะที่ดี
7.1.3 ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็มที่ถูกหั่นหรือฝานในโรงงานแปรรูปเพื่อการจ าหน่ายปลีก
ต้องบรรจุ
ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวในบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมด้วยระบบสุญญากาศ
7.2 การขนส่งและเก็บรักษา
7.2.1 รถขนส่งและเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ ต้องควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ในช่วง 0 ถึง 5 องศา
เซลเซียส
7.2.2 ตลอดการขนส่งและเก็บรักษา ต้องปกป้องผลิตภัณฑ์จากความเสียหายทั้งทางกายภาพ
และการเสื่อมสภาพ
7.2.3 ผลิตภัณฑ์ในบรรจุภัณฑ์สุญญากาศ มีอายุการเก็บรักษาไม่เกิน 3 เดือน นับตั้งแต่วันที่ผลิต
7.2.4 ผลิตภัณฑ์ในบรรจุภัณฑ์สุญญากาศที่ถูกเปิดออกมาแล้วนั้น หลังจากเปิดแล้ว
เมื่อเก็บรักษา
ในช่องแช่เย็น
และไม่ให้ผลิตภัณฑ์สัมผัสอากาศโดยตรง มีอายุการเก็บรักษาไม่เกิน 72 ชั่วโมง
7.2.5 ผลิตภัณฑ์บรรจุกระป๋อง มีอายุการเก็บรักษาไม่เกิน 9 เดือน
GCC | มาตรฐานสินค้า :
ผลิตภัณฑ์เนื้อเค็ม
7
www.thehalalfood.info
By
National Food Institute, Thailand
2015
8. การแสดงฉลาก
นอกเหนือจากข้อก
าหนดที่ระบุใน GSO 9 ว่าด้วยการแสดงฉลากสินค้าในบรรจุภัณฑ์ (ข้อ 2.1) ฉลาก
สาหรับผลิตภัณฑ์ปลาเค็มต้องแสดงข้อมูลต่อไปนี้
8.1 ชื่อผลิตภัณฑ์
และชนิดของเนื้อที่ใช้พร้อมทั้งระบุปริมาณในหน่วยร้อยละโดยน้าหนัก
8.2 ปริมาณของไขมัน ในหน่วยร้อยละโดยน้าหนัก ระบุด้วยการเน้นตัวอักษรให้เข้ม
8.3 ปริมาณของเกลือ ในหน่วยร้อยละโดยน้าหนัก ระบุด้วยการเน้นตัวอักษรให้เข้ม
8.4 ปริมาณวัตถุเจือปนอาหาร สารเพิ่มเนื้อ สารกันเสีย ในหน่วยร้อยละโดยน้าหนัก
8.5 แนะนาสภาวะการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์
เอกสารอ้างอิง
Codex
Alimentarius Commission Alinorm 83/16 Report of the Twelfth Session of the
Codex
committee
on processed Meat and poultry products.
Leatherehead
Food R.A. Food Legislation Surveys No . 6. Heavy Metals in Foods .Second
Edition,
1986.
Codex
Alimentrarius commission 11/1991 codex committee on Additives and contaminants
Twenty-Third
session
Codex
Alimentrarius volume 10/1994 Page: 19- 30 Codex Standard for cooked cured
chopped
meat 1981/98
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น